Sunday, October 10, 2010

หลักสูตรวิธีการสร้าง KPIs เพื่อวัดความสำเร็จในการบริหาร HR

หลักสูตร "วิธีการสร้าง KPIs เพื่อวัดความสำเร็จในการบริหาร HR"
                (Creating KPIs for HR Metrics)
เนื้อหา:     1.ความหมายของการวัดความสำเร็จในการบริหาร HR
             2.สังเคราะห์แนวคิดและโมเดลของ KPIs ในทุกมิติสำหรับ  HR Metrics
             3.เคล็ด (ไม่) ลับในหลักคิดและการเขียน KPIs ที่ใช้ได้อย่างทั่วไป
                     4.วิธีการภาคปฏิบัติในการสร้าง KPIs สำหรับ HR Metrics
             5.ก้าวต่อไปของ  The KPIs of  HR 
                6.บทเรียนที่เป็นเลิศ : บทเรียนจากที่ปรึกษาธุรกิจในด้าน  HR Metrics
               -Corporate/Operation  HR  KPIs
                    -CSR/SHE  KPIs
                    -IC (Intellectual Capital) KPIs
                 การฝึกปฏิบัติ        (1) การสร้าง KPIs สำหรับวัด วิสัยทัศน์และ ภารกิจ HR
                   (2)  การสร้าง KPIs สำหรับ Operation HR

วิทยากร   ดร.ดนัย เทียนพุฒ
                 นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ 

                 กรรมการผู้จัดการ บริษัท ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท์ จำกัด
                      รางวัลนักทรัพยากรมนุษย์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ปี 2552 โดยสถาบันทรัพยากรมนุษย์  ม.ธรรมศาสตร์
                      ที่ปรึกษาการวางแผนธุรกิจ ศูนย์การค้าฟิวเจอร์ปารค์ รังสิต
                      ที่ปรึกษาปรับระบบบริหารทรัพยากรบุคคล การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
                      วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิสถาบันพระปกเกล้า
                       อาจารย์พิเศษ โครงการปริญญาเอก และปริญญาโท ม.เซนต์จอห์น  วิชา HRM ในด้านการศึกษา
                      อาจารย์พิเศษโครงการ  MBA  ม.วลัยลักษณ์  ม.ราชภัฏสวนดุสิต   
                       อาจารย์พิเศษ โครงการ MINI-MBA  ม.ธรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์  ม.บูรพา


โครงการ Human Capital
โทร 0818338505


Wednesday, June 30, 2010

หลักสูตรการประเมินผลการปฏิบัติงานและการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล (ฝึกปฏิบัติ)

หลักสูตรการประเมินผลการปฏิบัติงานและการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล (ฝึกปฏิบัติ) 

ความเป็นมา
การประเมินผลการปฏิบัติงานของธุรกิจ แต่เดิมที่นั้นรู้จักกันในเรื่องของ การประเมินงาน หรือ การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal) ซึ่งมีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนกันมากพอสมควรอาทิ
ในช่วงแรก ๆ เป็นการปรับเปลี่ยนด้านวิธีการประเมิน เช่น การประเมินแบบ Top –down and Bottom-up  การประเมินตนเอง (Self-evaluation) และการพัฒนาไปไกลสุดในลักษณะของ “การประเมินแบบ 360 องศา ( 360 Degree feedback)” หรือ Multi-rater feedback Full-scale feedback โดยที่เป็นการปรับเปลี่ยนในวิธีการประเมินและ สาระหรือ เนื้อหาของการประเมินด้วย
 อีกลักษณะหนึ่งเป็นการประเมินผลงานโดยการใช้แนวคิดของ “โปรแกรมเป้าหมาย(Goal program)” ซึ่งน่าจะมีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ ”การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์( MBO-Management by objectives)”
 นับจากปี 2000 (หรือ พ.ศ.2543) ธุรกิจชั้นนำมีพัฒนาการที่เปลี่ยนแปลงจนลงตัวของธุรกิจในการนำแนวคิดของ Balanced Scorecard (BSC) และ KPIs(Key Performance Indicators) มาเป็นหลักการในการจัดการเชิงกลยุทธ (เริ่มเกิดแนวคิดตั้งแต่ ปี 19921992,1993,1994) และปรับระบบวัดผลกลยุทธตามแนวคิดของ BSC ด้วย KPIs ขณะเดียวกันในด้าน HR มีการนำแนวคิดของ Competency based approach เข้ามาใช้เป็นโครงสร้างพื้นฐานหรือ แฟลทฟอร์ม (Flatform) ของ HR พร้อมกับขยายแนวคิดของการประเมินผลงานไปสู่ “การจัดการผลงาน (Performance Management : PM)” ที่ใช้ทั้ง MBO กับ Competency และ KPIs หรือเป็นการใช้แบบบูรณาการทั้ง BSC & KPIs และPM
  ดังนั้น หลักสูตรการประเมินผลการปฏิบัติงานและการทำตัวชี้วัดรายบุคคล ที่ ดร.ดนัย เทียนพุฒ กรรมการผู้จัดการ บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท์ ได้พัฒนาหลักสูตรนี้ขึ้นเป็นครั้งแรกในลักษณะหลักสูตร “Public program” และยังสามารถจัดทำแบบภายในบริษัทได้(In-company program)  ที่จะสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องด้วยหลักการและ ทฤษฎีของการจัดการผลงาน วิธีการจัดทำ KPIs วัดรายบุคคล ที่เคยบรรยายและนำไปใช้มาแล้ว กับหลายบริษัท อาทิ Thai film industries public co. ltd, Thai Denso Group, Kawasumi Laboratories Thailand, Chan Wanich Group และอีกหลาย ๆ บริษัทที่จัดทำ KPIs วัดผลสำเร็จธุรกิจตั้งแต่แนวคิดนี้เข้ามาเผยแพร่ในเมืองไทย

ประโยชน์ที่จะได้รับ
เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนาได้เข้าใจถึงความหมาย หลักการประเมินผลงาน และพัฒนาการจนกระทั่งเป็นการจัดการผลงาน   เทคนิคในการเขียน KPIs. สำหรับวัดการปฏิบัติงานรายบุคคล ที่สามารถใช้ได้อย่างครอบคลุมทุกธุรกิจ

รูปแบบการสัมมนา


บรรยาย Workshop กรณีศึกษา พิเศษพร้อมแจกหนังสือ การประเมินระบบ 360 องศา ฟรี  



หัวข้อการสัมมนา
วันที่ 1
- ความหมายและที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- แบบฝึกหัด ท่านเข้าใจเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานดีพอไหม
- สังเคราะห์แนวคิดและรูปแบบของการจัดการผลงาน(Performance Management)
- ความเหมือนและแตกต่างระหว่างการวัดผลสำเร็จทางกลยุทธด้วย
           1)BSC & KPIs
            2)PM(MBO – Objective & KPIs + Competency Scorecard) และ Corporate Goals & KPIs
-องค์ประกอบที่สำคัญของการประเมินผลการปฏิบัติงานในภาคปฏิบัติของธุรกิจ
-ฝึกปฏิบัติ  การเขียนวัตถุประสงค์ตามแนวคิดของ MBO

วันที่ 2
- ก้าวต่อไปของการประเมินผลการปฏิบัติงาน (ทบทวนและนำสู่วันที่ 2)
- หลักและวิธีการด้านตัวชี้วัด เช่น แนวคิดของ KPIs โมเดลของ KPIs  เทคนิคการเขียนKPIs ที่โดน   
(Impact KPIs) พร้อมฝึกปฏิบัติ
- วิธีการจัดทำ แบบประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งระดับบริหาร ผู้จัดการ หัวหน้างาน และพนักงาน
ปฏิบัติการ                      
- การจัดทำระบบ Scoring และ แปลไปสู่การปรับเงินเดือนประจำปีแบบเป็นที่ยอมรับ
- บทเรียนจากที่ปรึกษาธุรกิจในด้าน การวัดผลสำเร็จธุรกิจและการจัดการผลงาน   


                                                                          วิทยากร

ดร.ดนัย เทียนพุฒ
นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ 
ผู้อำนวยการ โครงการ Human Capital
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิสถาบันพระปกเกล้า
โทร0818338505  email: drdanait@gmail.com


Sunday, May 16, 2010

หลักสูตรการบริหารการเปลี่ยนแปลง และการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง

หลักสูตรการบริหารการเปลี่ยนแปลง
และการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
(Managing Change and Resistance to Change)




หลักการและเหตุผล
สภาพของแต่ละธุรกิจในปัจจุบัน จำเป็นต้องมีการปรับตัว ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก เช่น การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์ของธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภค การปรับเปลี่ยนของคู่แข่งขัน และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดมาจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ จนกลายเป็น ความสับสนวุ่นวาย และมีเกิดขึ้นตลอดเวลา และต่อเนื่อง


 การที่ธุรกิจจะแข่งขันได้ จำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง หรือจัดการเปลี่ยนแปลงองค์กรให้ทันต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว  โดยต้องดำเนินการในหลายๆด้าน อาทิ Change Management, Organizational Redesign, Business Process Improvement   Restructure Organization และ Organization Development (OD) กลายเป็นเครื่องมือที่ถูกนำมาใช้ในการบริหารและพัฒนาองค์กรเพื่อให้องค์กรสามารถปรับตัวอย่างมีประสิทธิภาพ


 แต่ที่ธุรกิจต้องการและกำลังเป็นที่นิยมคือ การปรับกลยุทธองค์กร ในรูปแบบที่นักนวัตกรรมองค์กร เรียกว่า  Organizational Transformation ทำให้องค์กรต้องเปลี่ยนทั้งกลยุทธ วัฒนธรรมองค์กร โมเดลความสามารถ การจัดการผลงาน เหล่านี้ ซึ่งนำไปสู่การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรจึงต้องมีความสามารถในการบริหารการเปลี่ยนแปลง ทั้งผู้ที่เป็น Sponsors of Change Change Agent และ Change Implementer   จนองค์กรก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลง สามารถรุกกลับได้อย่างรวดเร็ว และสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมมากที่สุด

ประโยชน์ที่จะได้รับ
สร้างความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาองค์กรและการเปลี่ยนแปลงองค์กร ในเชิงปฏิบัติจริง ผ่านการเรียนรู้กระบวนการดำเนินการ   การจัดองค์กร   เครื่องมือที่จำเป็น   การวางแผนบริหารความเปลี่ยนแปลง การจัดการในเรื่อง Sponsors of Change   Change Agent และ Change Implementer ตลอดจนศึกษาจากรูปแบบขององค์กรชั้นนำที่ได้มีการดำเนินในเรื่องดังกล่าวจนประสบความสำเร็จ

ผู้เข้าสัมมนา
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับผู้บริหารระดับสูงที่ต้องการปรับเปลี่ยนกลยุทธองค์กร  การปรับโครงสร้างองค์กร  การพัฒนาและวิเคราะห์ข้อมูลองค์กรเพื่อการเปลี่ยนแปลง  ผู้บริหารฝ่ายงานต่าง ๆ ที่เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง  ผู้บริหาร HR  (HRM ) ที่สนับสนุนการอบรมและพัฒนาให้กับหน่วยงานภายในองค์กร 

ตัวอย่างบริษัทที่เข้ารับการอบรมหลักสูตรนี้
        -กรมธนารักษ์ -ผู้บริหารและคณะทำงาน การปรับปรุงองค์การสู่ความเป็นเลิศ (หลักสูตรต่อเนื่อง)
        -การพัฒนาเอเย่นต์ของ กลุ่มบริษัทดัชมิลล์ สู่ความท้าทายใหม่ในปี 2012 (สร้างไอเดียใหม่ทางธุรกิจและโมเดลธุรกิจเอเย่นต์)
        -ฝ่ายการพยาบาล กลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ
        -การประชุมประจำปีของ สาธารณสุขเขตที่ 6 ประจำปี 2553 จ.สุราษฎร์ธานี
        -ฝ่าย HR ธนาคารไทยพาณิชย์
        -บริษัท วนชัย พาเนลอินดัสทรี่ส์ จำกัด จ.สุราษฎร์ธานี
        -Makino (Thailand) Co.,Ltd.
        -กลุ่มงานสนับสนุน ธนาคารนครหลวงไทย
         หลักสูตรในสถาบันการศึกษา/สถาบันวิชาการ
        -การวางแผนกลยุทธเพื่อพัฒนาองค์กร โครงการหลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ม.รามคำแหง
         -หลักสูตรธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหาร สถาบันพระปกเกล้าทั้ง Public program & In-company program (ต่อเนื่อง)
         -หลัีกสูตรการบริหาร การเปลี่ยนแปลงและการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง จัดโดย TMA (ตั้งแต่ปี 2550-ปัจจุบัน)
         -หลักสูตรดุษฎีบัณทิตสาขา การบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำใน  วิชาภาวะผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลง ฯ และหลักสูตรศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต  ในวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ฯ ม.เซนต์จอห์น
          -หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาการจัดองค์กรและการเปลี่ยนแปลง ม.วลัยลักษณ์
   

วิธีการสัมมนา

       รูปแบบการสัมมนาที่เน้นการฝึกปฏิบัติ จากวิธีการสำรวจเพื่อปรับเปลี่ยนองค์กร การเปลี่ยนองค์กรไปสู่วัฒนธรรมองค์กรใหม่ และเทคนิคจัดการต่อการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
        -บรรยายและกรณีศึกษา
       - ปฏิบัติการกลุ่ม
       -  บทเรียนที่เป็นเลิศ  การปรับเปลี่ยนโมเดลขององค์กรธุรกิจครอบครัวไทย ธุรกิจคอนซูเมอร์อิเลคทรอนิกส์  ธุรกิจธนาคาร ธุรกิจค้าปลีก และ ธุรกิจการศึกษา ฯลฯ


 กำหนดการสัมมนา

วันที่ 1
     1.ความสำคัญและคุณค่าขององค์กรที่ต้องการทำการเปลี่ยนแปลง
         -แนวคิด  ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของการเปลี่ยนแปลง
         กรณีศึกษา  : การให้ความหมายของการเปลี่ยนแปลง
     2.ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง : จากอดีตจนถึงปัจจุบัน
       -Timeline of OD(Organizational Development)  Infographic
       - OD : The 4 Major Types of Organization Change
       -แนวคิดและทฤษฎีที่นิยมใช้มากที่สุดในองค์กรธุรกิจ
       - MI (Management Innovation) นำสู่อนาคตของการเปลี่ยนแปลง
        Workshop : (1) The Urgency diagnostic  
     3. 8 ขั้นตอนสู่ความสำเร็จในการดำเนินการเปลี่ยนแปลงและบริหารการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
        Workshop : ( 2) The Heart of Change
วันที่ 2
     4. ความเป็นผู้นำกับการเปลี่ยนแปลงและการบริหารการต่อต้่านการเปลี่ยนแปลงองค์กร
         -ความเป็นผู้นำ และบทบาทในการนำการเปลี่ยนแปลง
         -ทำอย่างไรให้คนยอมรับการเปลี่ยนแปลง
         Workshop : (3) กลยุทธการบริหารการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
     5. การสร้างวัฒนธรรมองค์กรแบบ “Company Spirit”
         -สร้างวัฒนธรรมใหม่ที่พึงประสงค์ขององค์กร
        แบบฝึกหัด : อุดมคติหลัก (Core Ideologies)
     6. การวัดความสำเร็จในการพัฒนาองค์กร (OD Scorecard) 
          -ดัชนี้บ่งชี้ความสำเร็จของการเปลี่ยนแปลงองค์กร
     7.บทสรุป ข้อคิดและประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนองค์กร  

ระยะเวลา  2 วัน ( 9.00-16.00 น)
  
วิทยากร
ดร.ดนัย เทียนพุฒ

Sunday, February 21, 2010

หลักสูตร การจัดการเชิงกลยุทธด้วย Balanced Scorecard (BSC) & KPIs


หลักสูตรการจัดการเชิงกลยุทธด้วย Balanced Scorecard (BSC) &  KPIs
(Update Version 2012)
หรือ การวางแผนกลยุทธด้วยเวอร์ชั่นใหม่ของ BSC & KPIs

เปิดฉากการจัดการกลุยทธในภาวการณ์แข่งขันที่ต้องการ Meta –Strategies ที่บูรณาการทั้งกลยุทธและใช้เครื่องมือทางกลยุทธที่เหมาะสมในแต่ละขั้นตอนของการจัดการเชิงกลยุทธ หรือการวางแผนธุรกิจ ด้วยแนวคิดของ Balanced Scorecard(BSC) and KPIs (Key Performance Indicators) หลักสูตรนี้ได้รับความนิยมจากธุรกิจในการจัดสัมมนาภายในบริษัทอย่างต่อเนื่องมาตลอดทศวรรษ และ ดร.ดนัย เทียนพุฒ ได้มีการพัฒนาให้ทันสมัยตลอดเวลาเช่นกัน โดยพัฒนาจาก Balanced Scorecard ของ Kaplan & Norton ตั้งแต่ เล่มแรก ปี 1996 จนถึงเล่ม ปี 2008 (Update Version 2008) และได้พัฒนาให้เหมาะสมกับระบบจัดการเชิงกลยุทธ ที่ล่าสุดจัดร่วมกับ TMA เมื่อเดือน  3-4 มี.ค.53 เป็น BSC & KPIs : 2010 (หรือ เวอร์ชั่น 2553) และในปัจจุบันมีหลายบริษัทสนใจจัดทำในลักษณะ In-house program
   
วันที่ 1
09.00 – 10.15 น.
1. แนวคิดของ Balanced Scorecard (BSC) &  KPIs เวอร์ชั่นใหม่
    • ความเป็นมาและความสำคัญของ BSC & KPIs
    • โมเดล BSC ใน 4 Generations ของ Kaplan
    • BSC และ KPIs ต่างกันอย่างไร
    10.30 – 12.00 น.
    2. โมเดล BSC เวอร์ชั่นล่าสุดที่นำสู่การปฏิบัติ
    • รูปแบบของ BSC ที่ธุรกิจสามารถไปใช้ได้อย่างแท้จริง
    • องค์ประกอบที่เป็นหัวใจของ BSC เพื่อจัดทำแผนกลยุทธ
    13.00 – 16.00 น.
    กิจกรรม (1) การวิเคราะห์ธุรกิจเพื่อจัดทำโมเดลกลยุทธ (S-Model)
    • พัฒนา กลยุทธทัศนภาพ (Scenario based Strategy)
    • S-Model (Strategic Objectives, Measure and KPIs)

    วันที่ 2

    09.00 – 10.15 น.
    3. วิธีการเขียน KPIs (Key Performance Indicators)
    • หลักการเขียน KPIs ด้วยสูตร CAR-PC และ QCS
    • โมเดล 3 แบบของ KPIs (ดัชนีความงอกงาม ดัชนีสัมพัทธ์และดัชนีความ สมบูรณ์)

    10.30 – 12.00 น.
    4. การบูรณาการสู่ “Strategy Maps” และ “Corporate KPIs” ของธุรกิจ
    5.การจัดทำกลยุทธฝ่ายงาน และ Department KPIs
    กิจกรรม (2) การเขียน KPIs ในระดับฝ่ายงาน

    13.00 – 14.00 น.
    6. การจัดทำกลยุทธโครงการและแผนปฏิบัติการ พร้อม “KPIs รายบุคคล” (Personal KPIs) จากโมเดลกลยุทธฝ่ายงาน

    14.00 – 16.00 น.
    7. การนำ BSC และ KPIs ไปสู่ Total Performance Scorecard
    • การจัดทำ “Performance Range” และ “KPIs Scoring”ที่ใช้ในการปรับเงินเดือนและจ่ายโบนัส

    วิทยากร ดร. ดนัย เทียนพุฒ
                     นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ    

    • กรรมการผู้จัดการบริษัท ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท์ จำกัด
    • รางวัลนักทรัพยากรมนุษย์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ปี 2552 ประเภทนักวิชาการและที่ปรึกษา โดยสถาบันทรัพยากรมนุษย์ ม.ธรรมศาสตร์
    • ที่ปรึกษาธุรกิจและองค์กรชั้นนำด้าน BSC & KPIs การบริหาร HR และพัฒนาทุนทางปัญญา
    • ผู้อำนวยการโครงการ HUMAN CAPITAL, www.dntnet.com
    • นักวิจัย-อาจารย์โครงการพิเศษระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
    • วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิสถาบันพระปกเกล้า
    • อาจารย์พิเศษ หลักสูตรปริญญาเอก บริหารการศึกษา ม.เซนต์จอห์น ม. เกษตรศาสตร์
    • อาจารย์พิเศษ หลักสูตร MBA ม.ราชภัฏสวนดุสิต MBA- Entrepreneurship ม.ฟาร์อีสเทริน์
    • อาจารย์พิเศษโครงการ MINI MBA ม.ธรรมศาสตร์, ม.เกษตรศาสตร์,ม.บูรพา
    • คอลัมน์นิสต์ “ Extreme Marketing” นสพ.inMarketing

    โครงการ Human Capital
    โทร 0818338505

    หลักสูตร Strategic Planning-BSC &KPIs


    หลักสูตร การวางแผนกลยุทธด้วยเวอร์ชั่นใหม่ของ BSC & KPIs

    เปิดฉากการจัดการกลุยทธในภาวการณ์แข่งขันที่ต้องการ Meta –Strategies ที่บูรณาการทั้งกลยุทธและใช้เครื่องมือทางกลยุทธที่เหมาะสมในแต่ละขั้นตอนของการวางแผนกลยุทธ หรือการวางแผนธุรกิจ หลักสูตรนี้ได้รับความนิยมจากธุรกิจในการจัดสัมมนาภายในบริษัทอย่างต่อเนื่องมาตลอดทศวรรษ และ ดร.ดนัย เทียนพุฒ ได้มีการพัฒนาให้ทันสมัยตลอดเวลาเช่นกัน

    วันที่ 1
    09.00 – 10.15 น.
    1. แนวคิดของการวางแผนกลยุทธอย่างครบวงจร ด้วย Balanced Scorecard (BSC) & KPIs เวอร์ชั่นใหม่
      • พัฒนาการของการวางแผนกลยุทธอย่างครบวงจร 
      • การเชื่องโยงระหว่างการวางแผนกลยุทธ กับ BSC & KPis
      • นำสู่ความเป็นมาและความสำคัญของ BSC & KPIs
      • โมเดล BSC ใน 4 Generations ของ Kaplan
      • BSC และ KPIs ต่างกันอย่างไร
      10.30 – 12.00 น.
      2. โมเดล BSC เวอร์ชั่นล่าสุดที่นำสู่การปฏิบัติ
      • รูปแบบของ BSC ที่ธุรกิจสามารถไปใช้ได้อย่างแท้จริง
      • องค์ประกอบที่เป็นหัวใจของ BSC เพื่อจัดทำแผนวางแผนกลยุทธ
      13.00 – 16.00 น.
      กิจกรรม (1) การวิเคราะห์ธุรกิจเพื่อจัดทำโมเดลกลยุทธ (S-Model)
      • พัฒนากลยุทธทัศนภาพ (Scenario based Strategy)
      • S-Model (Strategic Objectives, Measure and KPIs)

      วันที่ 2

      09.00 – 10.15 น.
      3. วิธีการเขียน KPIs (Key Performance Indicators)
      • หลักการเขียน KPIs ด้วยสูตร CAR-PC และ QCS
      • โมเดล 3 แบบของ KPIs (ดัชนีความงอกงาม ดัชนีสัมพัทธ์และดัชนีความ สมบูรณ์)

      10.30 – 12.00 น.
      4. การบูรณาการสู่ “Strategy Maps” และ “Corporate KPIs” ของธุรกิจ
      5.การจัดทำแผนกลยุทธของ BU   ฝ่ายงาน และ BU & Department KPIs
      กิจกรรม (2) การเขียน KPIs ทั้ง 3 ระดับ

      13.00 – 14.00 น.
      6. การจัดทำแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติการ/โครงการ  พร้อม “KPIs รายบุคคล” (Personal KPIs) จากโมเดลแผนกลยุทธฝ่ายงาน

      14.00 – 16.00 น.
      7. การนำ BSC และ KPIs ไปสู่ Total Performance Scorecard
      • การจัดทำ “Performance Range” และ “KPIs Scoring”ที่ใช้ในการปรับเงินเดือนและจ่ายโบนัส

      วิทยากร ดร. ดนัย เทียนพุฒ
      • กรรมการผู้จัดการบริษัท ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท์ จำกัด
      • รางวัลนักทรัพยากรมนุษย์ดีเด่นแห่งประเทศไทย ปี 2552 ประเภทนักวิชาการและที่ปรึกษา โดยสถาบันทรัพยากรมนุษย์ ม.ธรรมศาสตร์
      • ที่ปรึกษาธุรกิจและองค์กรชั้นนำด้าน BSC &  KPIs การบริหาร HR และพัฒนาทุนทางปัญญา
      • ผู้อำนวยการโครงการ HUMAN CAPITAL, www.dntnet.com
      • นักวิจัย-อาจารย์โครงการพิเศษระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
      • วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิสถาบันพระปกเกล้า
      • อาจารย์พิเศษ หลักสูตรปริญญาเอก บริหารการศึกษา ม.เซนต์จอห์น ม. เกษตรศาสตร์
      • อาจารย์พิเศษ หลักสูตร MBA ม.ราชภัฏสวนดุสิต MBA- Entrepreneurship ม.ฟาร์อีสเทริน์
      • อาจารย์พิเศษโครงการ MINI MBA ม.ธรรมศาสตร์, ม.เกษตรศาสตร์,ม.บูรพา
      • คอลัมน์นิสต์ “ Extreme Marketing” นสพ.inMarketing
                                                                  

      บจก.ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท์
      โทร 029301133

      หลักสูตร กลยุทธการบริหารทุนมนุษย์ด้วยความสามารถ (SCHC: Strategic Competency-Based Human Capital)

      SCHC: Strategic Competency-Based Human Capital

      1. คิดใหม่ในการบริหารคนด้วย กลยุทธการบริหารทุนมนุษย์
      -ทำไมจึงต้องบริหารคนด้วยกลยุทธการบริหารทุนมนุษย์
      -ธุรกิจใช้แอพพลิเคชั่นความสามารถ (Competency-Based Application) ในการวางระบบกลยุทธธุรกิจและ HR
      2. ลืมนิยามความสามารถ (Competency) และโมเดลความสามารถ (Competency Model) ที่ผ่านมาแล้วคิดใหม่ดังนี้
      - มิติใหม่ ความหมาย นิยาม โมเดลและดีกรีของความสามารถ (Competency) ที่บริษัท World Class ใช้อย่างถูกต้อง
      - Core Competency/ Genetic Competency Model/ Functional
      Competency Model/ Leadership Competency Model ในปี 2009 เป็นอย่างไร
      3. การใช้ “Competency” เป็นกลยุทธที่นำธุรกิจก้าวไปสู่ การบริหารทุนมนุษย์ (HCM: Human Capital Management)
      -การเชื่อมโยงกลยุทธธุรกิจกับกลยุทธด้านทุนมนุษย์ด้วย BSC & KPIs
      -TMS (Talent Management System)
      -จากการจัดการความรู้ (KM) ไปสู่การพัฒนามูลค่าทุนมนุษย์ (HC Value)
      -วัฒนธรรมที่เน้นการจัดการผลงาน (PMC: Performance Management Culture)
      - ICT จะช่วยในการวางระบบ SCHC ที่เน้นความสามารถแบบใดได้บ้าง
      -ตัวอย่างที่เป็น “Action Research” ของธุรกิจชั้นนำในด้าน SCHC ที่เน้นความสามารถ
      วิธีการอบรม บรรยาย แบบฝึกหัด และฝึกปฏิบัติ
      ระยะเวลา 1 วัน (09.00 16.00 น.)
      วิทยากร ดร.ดนัย เทียนพุฒ
                      นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ 

                      กรรมการผู้จัดการ DNT Consultants Co.,Ltd.
                      ผู้อำนวยการโครงการ Human Capital
                      อาจารย์พิเศษหลักสูตร  ปริญญาโท-เอก หลักสูตรบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ                                          ม.เซนต์จอห์น
                      วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันพระปกเกล้า


                                                            
      โครงการ Human Capital
      โทร 0818338505